Monday, April 29, 2013
Sunday, April 28, 2013
Tesla Turbine
ลองหาวิธีใช้เทสลาเทอร์ไบน์ ให้มีทางเข้าทางออกของอากาศที่ยาวมากๆ อากาศปริมาตรเท่าเดิมแต่พอช่องแคบลง(พท.หน้าตัดเล็กลง) จะทำให้ความเร็วสูงขึ้น อาจเป็นช่องวนออกกตรงกลางแผ่น หรือ ดูดจากตรงกลางด้วยใบพัดอีกอัน
Tesla TurboMachinary Thesis
by Prof. Emiritus
http://www.tesla-turbines.com/TeslaTurboMachinery.pdf
ควบคุมให้ปริมาตรลมเข้าเท่ากับลมออก (ปริมาตรลมออกคือปริมาตรขณะนั้น Real Time แล้วปรับ พท.หน้าตัด ขาเข้าของลมให้ได้ปริมาตรเท่ากัน) ทั้งหมดวิ่งผ่านอุโมง Golden Raito ในแผ่นดิส
อาจทดลองได้ 2 กรณี คือ
1. 2D สองมิติ รูปอุโมงค์เหมือนโกลเดนท์เรโชที่เห็นทั่วไป
2. 3D สามมิตะ หาปริมาตร์ในรูปแบบสามมิติแล้วจับลงแบบ สองมิติ เพราะแผ่นดิสถูกกำหนดด้วย gap ที่เท่ากัน
หลักการคือ ปริมาตลมเข้า เท่ากับ ปริมาตรลมออก เมื่อพื้นที่หน้าตัดเล็กลง ก็จะทำให้ความเร็วเพิ่มขึ้น ส่วน Golden Ratio นึกขึ้นมาลอยๆ แต่อยู่ได้กับธรรมชาติ อาจนำสัดส่วนมาใช้แล้วได้ประสิทธิภาพ (ลองทำแบบ Linear, Exponential ด้วยก็ดี)
Tesla TurboMachinary Thesis
by Prof. Emiritus
http://www.tesla-turbines.com/TeslaTurboMachinery.pdf
ควบคุมให้ปริมาตรลมเข้าเท่ากับลมออก (ปริมาตรลมออกคือปริมาตรขณะนั้น Real Time แล้วปรับ พท.หน้าตัด ขาเข้าของลมให้ได้ปริมาตรเท่ากัน) ทั้งหมดวิ่งผ่านอุโมง Golden Raito ในแผ่นดิส
อาจทดลองได้ 2 กรณี คือ
1. 2D สองมิติ รูปอุโมงค์เหมือนโกลเดนท์เรโชที่เห็นทั่วไป
2. 3D สามมิตะ หาปริมาตร์ในรูปแบบสามมิติแล้วจับลงแบบ สองมิติ เพราะแผ่นดิสถูกกำหนดด้วย gap ที่เท่ากัน
หลักการคือ ปริมาตลมเข้า เท่ากับ ปริมาตรลมออก เมื่อพื้นที่หน้าตัดเล็กลง ก็จะทำให้ความเร็วเพิ่มขึ้น ส่วน Golden Ratio นึกขึ้นมาลอยๆ แต่อยู่ได้กับธรรมชาติ อาจนำสัดส่วนมาใช้แล้วได้ประสิทธิภาพ (ลองทำแบบ Linear, Exponential ด้วยก็ดี)
Wednesday, April 17, 2013
myProject Ideas - All Marine energy storage together
All Marine energy storage together
Concept
-ใช้เทคโนโลยี่ OutsideHydro ผลิตไฟฟ้า สูบน้ำออกด้วยทุกประเภทของพลังงานจากทะเล (Marine current, Tidal, Wave etc.)
Design
-
Advantage
-ข้อดีจาก OutsideHydro
-รวมทุกพลังงานที่เหมาะสมกับพื้นที่นั้นๆ
Disadvantage
-
Development
-
เพิ่มเติม
Marine energy - Wikipedia, the free encyclopedia
Monday, April 15, 2013
Dual Vertical Linear Generator (Lift)
เหมือนลิฟท์ แทนที่จะใช้ตัวถ่วงน้ำหนัก แต่เป็น Linear Gen อีกตัว
ศึกษา
การถ่วงน้ำหนักของลิฟท์
ถ้าสองข้างของรอกเท่ากันแต่น้ำหนักโดยรวมไม่เท่ากัน จะต้องออกแรงหมุนเท่ากันหรือไม่
ศึกษา
การถ่วงน้ำหนักของลิฟท์
ถ้าสองข้างของรอกเท่ากันแต่น้ำหนักโดยรวมไม่เท่ากัน จะต้องออกแรงหมุนเท่ากันหรือไม่
Sunday, April 14, 2013
Axial alternators
Basic Principles Of The Homemade Axial Flux Alternator
www.windenergy.nl/website/files/artikelen/AXIAL_FLUX_HowItWorks.pdf
Axial alternators with dual stators
keeping the size of the air gap down to one coil thickness rather than introducing a second gap into the path of the magnetic flux
Axial alternators with dual stators | Hugh Piggott's blog
www.windenergy.nl/website/files/artikelen/AXIAL_FLUX_HowItWorks.pdf
Axial alternators with dual stators
keeping the size of the air gap down to one coil thickness rather than introducing a second gap into the path of the magnetic flux
Axial alternators with dual stators | Hugh Piggott's blog
Friday, April 12, 2013
Low speed Direct-drive Generator
A lightweight low speed permanent magnet electrical generator for direct-drive wind turbines
ต้นแบบ C-Gen ทำงานที่ความเร็วรอบต่ำกว่า 100 rpm
www.commodityintelligence.com/images/2009/nov/30thNov/EWEC2008fullpaper.pdf
Bedini SSC Generator
ต้นแบบ C-Gen ทำงานที่ความเร็วรอบต่ำกว่า 100 rpm
www.commodityintelligence.com/images/2009/nov/30thNov/EWEC2008fullpaper.pdf
Bedini SSC Generator
อธิบายวงจร
โปรเจคการสร้างและทดสอบ Bedini SSC Energizer
Tuesday, April 9, 2013
VAWT vs. HAWT Technology
How do wind-sail-type vertical axis wind turbines compare to conventional horizontal axis wind turbines (HAWT)?
VAWT vs. HAWT Technology - TES - Today's Energy Solutions
VAWT vs. HAWT Technology - TES - Today's Energy Solutions
Friday, April 5, 2013
New Wind Turbine Design for VAWT
แบบ 6 พค. 2556
แรงบันดาลใจจาก เฮลิคอปเตอร์ที่มี ใบพัดหมุนสวนทางกันเพื่อรักษาสมดุล แต่สำหรับ Turbine นี้ เอาไว้เพิ่มความเร็ว โดยหมุนทั้งโรเตอร์ และ สเตเตอร์(อาร์เมเจอร์) และหมุนสวนทางกัน
แบบ 28 เมย. 2556
ลองผสมกับแบบสี่เหลี่ยม
แบบ 27 เมย. 2556
ทรงสี่เหลี่ยมเน้นเท่ห์ เสริมด้านในด้วยแผ่น ดักลมฝั่งหนึ่งอีกฝั่งตามลม มองด้านบนคล้ายสามเหลี่ยม
(คล้าย Lenz2 แต่มองมุมบนเป็นสามเหลี่ยม)
แบบ 26 เมย. 2556
เป็นแบบ Drag ใบคล้ายขนนก ด้านบนพับได้ ด้านล่างอิสระทางเดียว จังหวะ Drive รับลมเต็มที่ จังหวะ Drag ใบลอยตัวลดแรงต้าน
รูปร่างคล้ายผีเสื้อสวยดี ใบกว้างมารวมกันที่แกนเหมือนตัวผีเสื้อ ปีกด้านล่างมีติ่งยื่นมา ทำเป็นตัวถ่วงให้ดุลย์
แบบ เมย. 2556
มองมุมบน หมุนตามเข็มนาฬิกา มี 3 แกน เนื่องจากมี 3 แกน ดังนั้นปลายใบจึงไม่ยึดติดกับแกน หรือว่าเลยแกนที่ 2 ไป 60 องศา
ตำแหน่ง (-1,0) หน้าตัดเป็น แนวแกน x ฝั่งรับลม เว้า ฝั่งดันลม แหลมลู่ลม
ตำแหน่ง (-1,-1) หน้าตัดเป็น 45 ฝั่งรับลม แบน ฝั่งดันลมมุมแหลมตามเส้นสัมผัสวงกลม
ตำแหน่ง (1,0) หน้าตัดเป็นแผ่นบางแนวแกน y ฝังรับลมกับฝั่งดันลมเป็นด้านเดียวกัน เป็นสันแผ่น ไม่เกิดแรงทั้งสอง
ลองเพิ่มแรงยกจากการหมุนของใบเพื่อลดภาระของแบร์ลิ่ง
แบบ 12 เมย. 2556
ทรงกระบอก พันรอบด้วยครีบ สามเหลี่ยม (สัญลักษณ์ Play |> ) ลมผลักเข้าด้านตรง(ขวา) แล้วหมุน ผลักลมด้วยด้านแหลม มีสามตัว(?) อาจปรับมุมเพื่อให้เกิดแรงยกลดภาระแบร์ลิง(ลดความสูญเสียทางกล แต่ไปเพิ่มการสูญเสียทางต้านอากาศหรือไม่?)
Comparison between Lift and Drag-Driven VAWT Concepts on Low-Wind Site AEO
www.waset.org/journals/waset/v59/v59-318.pdf
QR5 Lift-Driven VAWT |
WS-12 Drag-Driven VAWT |
หมายเหตุ
กังหันลมขนาด 5 กิโลวัตต์ ที่มีประสิทธิภาพสูงที่นำเข้าจากต่างประเทศอยู่ที่ ราคาพร้อมติดตั้งประมาณหนึ่งล้านห้าแสนถึงหนึ่งล้านเจ็ดแสนบาท อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพที่ต่ำกว่ากังหันลมที่ผลิตภายในประเทศอีกด้วย [http://www.thai-windy.com/%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%84%E0%B8%9F%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B9%87%E0%B8%A7%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B3.html]
Wednesday, April 3, 2013
Hybrid Pumped-storage Hydroelectricity and Compressed Air Energy Storage
Tank ลอยกลางทะเล เก็บพลังงานโดยการสูบออก ผลิตโดยการปล่อยเข้า ระหว่างการสูบออกและปล่อยเข้า จะมีอากาศไหลปริมาตรเท่ากับน้ำ เอามาปั่นไฟได้อีก โดยใช้ Well Turbine
ปล่อยน้ำได้ครึ่งถังเพราะความสูง head ต้องมี นอกแทงค์คือ higher Reservoir ในแทงค์คือ lower Reservoir ปริมาตรน้ำครึ่งถังเท่ากับปริมาณน้ำที่ต้องใช้ปั่นไฟช่วงพีค 6 ชม.
ตัวอย่างใน Okinawa, head= 150m, Reservoir 564,000 m³, ได้ พท.หน้าตัด 564,000/150=3,760 m^2 ถ้าเป็นวงกลม(หน้าตัดทรงกระบอก) ได้เส้นผ่านศูนย์กลาง 2x(sqrt(3760/pi) =69 เมตร
ได้ทรงกระบอกสูง 300 m Diameter 69 m ผลิตไฟจากน้ำ 564,000 m³ และจากลม 564,000 m³ ด้วย
Okinawa Yanbaru Seawater Pumped Storage Power Station
ปล่อยน้ำได้ครึ่งถังเพราะความสูง head ต้องมี นอกแทงค์คือ higher Reservoir ในแทงค์คือ lower Reservoir ปริมาตรน้ำครึ่งถังเท่ากับปริมาณน้ำที่ต้องใช้ปั่นไฟช่วงพีค 6 ชม.
ตัวอย่างใน Okinawa, head= 150m, Reservoir 564,000 m³, ได้ พท.หน้าตัด 564,000/150=3,760 m^2 ถ้าเป็นวงกลม(หน้าตัดทรงกระบอก) ได้เส้นผ่านศูนย์กลาง 2x(sqrt(3760/pi) =69 เมตร
ได้ทรงกระบอกสูง 300 m Diameter 69 m ผลิตไฟจากน้ำ 564,000 m³ และจากลม 564,000 m³ ด้วย
Okinawa Yanbaru Seawater Pumped Storage Power Station
head 150m, Flow Rate 26 m³/s, ได้ O/P 30 MW ประสิทธภาพ 78% (100%=38.25 MW)
จาก Flow Rate 26m³/s and Reservoir 564,000 m³ จะใช้เวลาปล่อยน้ำหมดอ่าง 6 hr. หมายถึงเก็บน้ำไว้ใช้ปั่นไฟแค่ 6 ชม. ช่วงพีคเท่านั้น
Compressed Air Ladder (Water ladder Pump)
ระหัดอัดอากาศ คล้ายระหัดวิดน้ำ ทำงานแนวดิ่ง ลึก 40m 5ATM ลดปริมาตรเหลือ 1/5 [http://www.idc-guide.com/physics.html]
น้ำหนักแทงค์รวมอากาศเท่ากับแรงพยุง Buoyancy ทำให้ไม่ต้องใช้พลังงานมากในการกดลงไป หรือ อาจจะหนักเพื่อให้หล่นลงง่าย(ศึกษาหลักการถ่วงน้ำหนักในลิฟท์)
to Research
-ศึกษาหลักการถ่วงน้ำหนักในลิฟท์
-อัตราสิ้นเปลืองลม หน่วยเป็น ลบ.ม.ต่อ kW.
-ปริมาตรอากาศลดทำให้แรงพยุงลดหรือไม่ (แรงพยุงเท่ากับปริมาตรน้ำที่ถูกแทนที่ ถ้าอากาศหด ก็แสดงว่า ปริมาตรน้ำที่ถูกแทนที่ลดไป แรงพยุงจึงลดตาม?)
น้ำหนักแทงค์รวมอากาศเท่ากับแรงพยุง Buoyancy ทำให้ไม่ต้องใช้พลังงานมากในการกดลงไป หรือ อาจจะหนักเพื่อให้หล่นลงง่าย(ศึกษาหลักการถ่วงน้ำหนักในลิฟท์)
to Research
-ศึกษาหลักการถ่วงน้ำหนักในลิฟท์
-อัตราสิ้นเปลืองลม หน่วยเป็น ลบ.ม.ต่อ kW.
-ปริมาตรอากาศลดทำให้แรงพยุงลดหรือไม่ (แรงพยุงเท่ากับปริมาตรน้ำที่ถูกแทนที่ ถ้าอากาศหด ก็แสดงว่า ปริมาตรน้ำที่ถูกแทนที่ลดไป แรงพยุงจึงลดตาม?)
Monday, April 1, 2013
myProject Ideas - Floating Reservoir Energy Storage
Floating Reservoir Energy Storage เก็บพลังงานด้วยน้ำไว้ใน Reservoir กลางทะเล
Concept
-ใช้เทคโนโลยี่ OutsideHydro เป็นตัวผลิตไฟฟ้าช่วง On Peak สูบน้ำออกด้วยไฟฟ้าจากกริดในช่วง Off Peak
-พลังงานอยู่นอกถัง
-พลังงานอยู่นอกถัง
Design
-เป็นแท่งหกเหลี่ยมหรือวงกลม เชื่อมต่อกันคล้ายรวงผึ้ง
Sunday, March 31, 2013
myProject Ideas - Trapped Air Energy Storage
เก็บพลังงานด้วยการขังอากาศไว้ใต้ Tank คว่ำไว้กลางทะเล
Concept
-ขังอากาศไว้ด้วยแรงดันน้ำกับน้ำหนักของ Tank
Design
-เป็นแท่งหกเหลี่ยมหรือวงกลม เชื่อมต่อกันคล้ายรวงผึ้ง
Advantage
-ขณะอัดไม่เกิดความร้อน อุณหภูมิเท่ากับน้ำ?
Disadvantage
-ประสิทธิภาพ
Development
-เช็คก่อนว่าแรงดันอากาศจะเป็นเท่าไหร่ เหมาะสมจะใช้ปั่นไฟหรือไม่
-คำณวนหาประโยชน์ที่ประหยัดการลงทุนจ่ายไฟช่วงพีคของการไฟฟ้า
-หากำไรที่ได้จากการขายช่วงพีค
Monday, March 25, 2013
Sunday, March 24, 2013
The use of ocean wind, wave, tide to generate of electrical energy.
เฟส 1. พลังงานจากทะเล(ลม,คลื่น,กระแสน้ำ)เปลี่ยนรูปเป็นอากาศแรงดันสูงไปขับเทอร์ไบของเจนเนอเรเตอร์
พลังงานจากทะเลมีหลายรูปแบบ ถ้าจะแปลงตรงๆเป็นไฟฟ้า จะเปลืองเจนหรือได้เจนตัวเล็ก แต่ถ้าเอาหลายๆแบบมาแปลงเป็นตัวกลางเดียวกันคือลมแล้วรวมกันไปขับเจนจะได้ขับเจนตัวใหญ่ได้ ประสิทธิภาพระบบโดยรวมจะสูงกว่า
-อากาศแรงดันสูง สามารถทำตัวเป็นตัวเก็บพลังงานได้คล้ายๆ C
ลม
-Wind Powered Air Compressor [http://www.energytower.org/cawegs.html]
คลื่น
กระแสน้ำ
=======
The Advantages and Disadvantages of Renewable Energy
[http://www.solarschools.net/resources/stuff/advantages_and_disadvantages.aspx]
Type of Renewable energy
[http://en.wikipedia.org/wiki/Renewable_energy]
Wind power
The Advantages and Disadvantages of Renewable of Renewable Energy Technologies
ตัวอย่าง Air Turbine ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์
BuNote
-น่าจะเปลี่ยนคำว่า "พลังงานทดแทน" เป็น "พลังงานไม่หมด"" เพราะคำว่า ทดแทน หมายความได้เพียง ทดแทนพลังแบบเก่าที่บ่งบอกว่าใช้แล้วหมดไป แต่คำว่า "ไม่หมด" หมายถึง ตามชื่อเลย นำมาใช้ได้ไม่หมดไป แล้วยังบ่งชัดให้เข้าใจว่าไม่ใช่แค่ทดแทน แต่เป็นพลังงานที่ไม่มีวันหมด
-สาเหตุของการเกิดเทคโนโลยีพลังงานใหม่ๆ มาจากการต้องการพลังงานทดแทนพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปเช่น น้ำมัน โดยแสวงหาพลังงานที่นำกลับมาใช้ได้อีก หรือไม่มีวันหมดไป ดังนั้นเป้าหมายหลักควรจะเป็นการใช้ใหม่ จึงควรเรียกว่า พลังงานใช้ใหม่ (หรือพลังงาน"ใช้ใหม่"ดี พ้องสระไอ) สาเหตุ=>ทดแทน เป้าหมาย=>ใช้ใหม่
พลังงานจากทะเลมีหลายรูปแบบ ถ้าจะแปลงตรงๆเป็นไฟฟ้า จะเปลืองเจนหรือได้เจนตัวเล็ก แต่ถ้าเอาหลายๆแบบมาแปลงเป็นตัวกลางเดียวกันคือลมแล้วรวมกันไปขับเจนจะได้ขับเจนตัวใหญ่ได้ ประสิทธิภาพระบบโดยรวมจะสูงกว่า
-อากาศแรงดันสูง สามารถทำตัวเป็นตัวเก็บพลังงานได้คล้ายๆ C
ลม
-Wind Powered Air Compressor [http://www.energytower.org/cawegs.html]
คลื่น
กระแสน้ำ
=======
The Advantages and Disadvantages of Renewable Energy
[http://www.solarschools.net/resources/stuff/advantages_and_disadvantages.aspx]
Type of Renewable energy
[http://en.wikipedia.org/wiki/Renewable_energy]
Wind power
Hydroelectricity
Solar energy
Biomass
Biofuel
Geothermal
Ocean energy
-Wave Power
-Tidal Power
-Ocean thermal energy
The Advantages and Disadvantages of Renewable of Renewable Energy Technologies
ตัวอย่าง Air Turbine ที่ใช้ในเชิงพาณิชย์
BuNote
-น่าจะเปลี่ยนคำว่า "พลังงานทดแทน" เป็น "พลังงานไม่หมด"" เพราะคำว่า ทดแทน หมายความได้เพียง ทดแทนพลังแบบเก่าที่บ่งบอกว่าใช้แล้วหมดไป แต่คำว่า "ไม่หมด" หมายถึง ตามชื่อเลย นำมาใช้ได้ไม่หมดไป แล้วยังบ่งชัดให้เข้าใจว่าไม่ใช่แค่ทดแทน แต่เป็นพลังงานที่ไม่มีวันหมด
-สาเหตุของการเกิดเทคโนโลยีพลังงานใหม่ๆ มาจากการต้องการพลังงานทดแทนพลังงานที่ใช้แล้วหมดไปเช่น น้ำมัน โดยแสวงหาพลังงานที่นำกลับมาใช้ได้อีก หรือไม่มีวันหมดไป ดังนั้นเป้าหมายหลักควรจะเป็นการใช้ใหม่ จึงควรเรียกว่า พลังงานใช้ใหม่ (หรือพลังงาน"ใช้ใหม่"ดี พ้องสระไอ) สาเหตุ=>ทดแทน เป้าหมาย=>ใช้ใหม่
Comparison of Renewable Energy Technologies
Reliability of supply
ไฟฟ้าพลังคลื่นมีความน่าเชื่อถือในการผลิตไฟฟ้าดีกว่า ไฟฟ้าพลังลมและไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์
Tides are more predictable than wind energy and solar power.
http://en.wikipedia.org/wiki/Tidal_power
ไฟฟ้าพลังคลื่นมีความน่าเชื่อถือในการผลิตไฟฟ้าดีกว่า ไฟฟ้าพลังลมและไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์
Tides are more predictable than wind energy and solar power.
http://en.wikipedia.org/wiki/Tidal_power
Friday, March 22, 2013
All Wave Power
Wave power
From Wikipedia, the free encyclopedia
Modern technology
มีหลายรูปแบบ
http://en.wikipedia.org/wiki/Wave_energy#Modern_technology
Wave Dragon - wave energy converter
Wave Dragon
From Wikipedia, the free encyclopediaWave Dragon is a floating slack-moored energy converter of the overtopping type, located in the northern Denmark. It was the world's first offshore wave energy converter. Wave Dragon is a joint EU research project, including partners from Austria, Denmark, Germany, Ireland, Portugal, Sweden, and the UK
myProject Ideas - OutsideHydro (Draft, very Draft)
OutsideHydro Technology เขื่อนพลังน้ำกลางทะเล
OutsideHydro is my invention of Floating Power Station.
OutsideHydro uses principles from traditional hydropower plant in an offshore floating tank to use sea as a reservoir, but reserves seawater outside the tank.
Concept
-มองภาพรวมเป็นตัวผลิตกระแสไฟฟ้า แต่อินพุทคือการเอาน้ำออก(สูบด้วยไฟฟ้า หรือปั้มออกด้วยแมคคานิคส์ หรือดันออกด้วยลม Pneumatic)
-ถ้าเป็นระบบปิด อาจได้ประโยชน์จากลมที่เข้าออกในถัง โดยใช้ Well Turbine
Design (แบ่งเป็น ไฟฟ้า โยธา เครื่องกล)
-ศึกษาความสูง Head ที่เหมาะสม
-ทรงตื้นแต่กว้าง หรือทรงลึกแต่แคบ กระบอก ทรงกลม
-ความยากง่าย วัสดุ ในการสร้าง
-ต้นทุน
-ตัวแปร กำลังไฟฟ้าที่ต้องการ ปริมาณน้ำ ความจุ
-ความสูงการลอยตัว เมื่อน้ำเต็ม หรือน้ำหมด
Advantage (Engineering, เศรษฐศาสตร์, Finance, Environment)
-พลังงานไม่หมด ปล่อยคาร์บอนต่ำ
-ความต้องการพลังงานเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำใหญ่ของประเทศลดลง ทำเกิดปัญหาการคลาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร การใช้น้ำทะเลเพื่อผลิตพลังงานจึงเป็นอีกทางเลือกสำหรับประเทศเกษตรกรรมของไทย (ลองหาประสิทธิภาพการใช้งบประมาณของกรมชลปีละหลายหมื่นล้านเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทาน 22 ล้านไร่ แล้วลองเทียบว่าเขื่อนกลางทะเลจะทำให้ช่วยรักษาพื้นที่ชลประทานเทียบเป็นเงินเท่าไหร่)
-Reliability บังคับน้ำให้ไหลสม่ำเสมอได้เป็นข้อดีของเขื่อนพลังน้ำแบบดั้งเดิม
-แก้ปัญหา Reliability ของ Renewable Energy เช่น ลม แสง คลื่น
-ทำหน้าที่ Stored Energy ได้
Disadvantage
-
Design Dev.
-ข้อควรระวังในการออกแบบ
-ระบบต้องง่าย กลไกการเคลื่อนไหวต้องน้อย
-Maintenance ต้องต่ำหรือไม่มี
Engineering Dev.
ใช้อากาศดันน้ำในห้องใต้ถังออกด้านล่าง ดีกว่าการปั้มน้ำขึ้นแล้วปล่อยออกเพราะ ถ้าปั้มขึ้นต้องสูงไปถึงขอบเขื่อน แต่ดันอากาศใช้ขอบน้ำด้านนอก(ความสูงของน้ำจากผิวทะเลถึงก้นถังหรือทางน้ำสูบออก)
-น้ำที่ถูกดันออกใต้เขื่อนจะทำให้เกิดคลื่นอีกเอามาใช้งานได้อีกบางส่วน
-ปริมาณน้ำที่ระเหยออกช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า(กลายเป็นดี)
วิธีสูบน้ำออกจากเขื่อนด้วยกลไก
Prototype Specifications
-ขนาด Gen 3kW เทียบกับ Wave Dragon ต้องมี Reservoir = 3x2.75= 8.25 m³, Cube Root 8.25 m³=2m, ได้ด้านละสองเมตร สองก้อนซ้อนกัน ได้ขนาดทั้งหมด กxยxส=2x2x4 m
(Wave Dragon Reservoir 55 m³, output rate 20kW=2.75 m³ kW) (Okinawa 40,000 m³ 2MW, Cube Root 40,000 m³=34m)
-Gen 3kWแบบ (กังหันน้ำปั่นไฟขนาดจิ๋วแบบคอยาว) ใช้น้ำ 30 l/s = 1.8 m³/m แต่กังหันสูบน้ำใหญ่ที่สุดในอเมริกา ขนาดลูกสูบ 70 cm ช่วงชัก 40 cm สูบได้ 1.4 m³/m เอง
-ใช้น้ำ 30ลิตรต่อวินาที ในหนึ่งวันต้องใช้ 2,600 ลบ.ม. ถอดรูทที่ 3 ได้เป็น ด้านละ 13.7 เมตร
-ลองขนาด 5 kW เป็นขนาดกังหันลมที่ขายทั่วไปในท้องตลาด
Calculate
ตัวอย่างที่ประสิทธิภาพ 60%
ที่ความสูง 5 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 34.00 l/s =2.04 m³/min
ที่ความสูง 10 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 17.00 l/s =1.02 m³/min
ที่ความสูง 15 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 11.50 l/s =0.69 m³/min
Okinawa Yanbaru Seawater Pumped Storage Power Station
Calculation of Hydro Power - Hydro
-มองภาพรวมเป็นตัวผลิตกระแสไฟฟ้า แต่อินพุทคือการเอาน้ำออก(สูบด้วยไฟฟ้า หรือปั้มออกด้วยแมคคานิคส์ หรือดันออกด้วยลม Pneumatic)
-ถ้าเป็นระบบปิด อาจได้ประโยชน์จากลมที่เข้าออกในถัง โดยใช้ Well Turbine
Design (แบ่งเป็น ไฟฟ้า โยธา เครื่องกล)
-ศึกษาความสูง Head ที่เหมาะสม
-ทรงตื้นแต่กว้าง หรือทรงลึกแต่แคบ กระบอก ทรงกลม
-ความยากง่าย วัสดุ ในการสร้าง
-ต้นทุน
-ตัวแปร กำลังไฟฟ้าที่ต้องการ ปริมาณน้ำ ความจุ
-ความสูงการลอยตัว เมื่อน้ำเต็ม หรือน้ำหมด
Advantage (Engineering, เศรษฐศาสตร์, Finance, Environment)
-พลังงานไม่หมด ปล่อยคาร์บอนต่ำ
-ความต้องการพลังงานเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำใหญ่ของประเทศลดลง ทำเกิดปัญหาการคลาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร การใช้น้ำทะเลเพื่อผลิตพลังงานจึงเป็นอีกทางเลือกสำหรับประเทศเกษตรกรรมของไทย (ลองหาประสิทธิภาพการใช้งบประมาณของกรมชลปีละหลายหมื่นล้านเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทาน 22 ล้านไร่ แล้วลองเทียบว่าเขื่อนกลางทะเลจะทำให้ช่วยรักษาพื้นที่ชลประทานเทียบเป็นเงินเท่าไหร่)
-Reliability บังคับน้ำให้ไหลสม่ำเสมอได้เป็นข้อดีของเขื่อนพลังน้ำแบบดั้งเดิม
-แก้ปัญหา Reliability ของ Renewable Energy เช่น ลม แสง คลื่น
-ทำหน้าที่ Stored Energy ได้
-Off Shore พื้นที่ Onshore เริ่มจำกัด จึงพัฒนาไป Offshore ซึ่งห่างไกล ไม่มีมลพิษทั้งทางเสียง สายตา ฯลฯ กับมนุษย์ [http://publications.lib.chalmers.se/records/fulltext/173938/173938.pdf - p.ii]
Disadvantage
-
Development
Design Dev.
-ข้อควรระวังในการออกแบบ
-ระบบต้องง่าย กลไกการเคลื่อนไหวต้องน้อย
-Maintenance ต้องต่ำหรือไม่มี
Engineering Dev.
ใช้อากาศดันน้ำในห้องใต้ถังออกด้านล่าง ดีกว่าการปั้มน้ำขึ้นแล้วปล่อยออกเพราะ ถ้าปั้มขึ้นต้องสูงไปถึงขอบเขื่อน แต่ดันอากาศใช้ขอบน้ำด้านนอก(ความสูงของน้ำจากผิวทะเลถึงก้นถังหรือทางน้ำสูบออก)
-น้ำที่ถูกดันออกใต้เขื่อนจะทำให้เกิดคลื่นอีกเอามาใช้งานได้อีกบางส่วน
-ปริมาณน้ำที่ระเหยออกช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า(กลายเป็นดี)
วิธีสูบน้ำออกจากเขื่อนด้วยกลไก
-สูบน้ำออกด้วยกระบอกสูง แบบกลไก
-สูบออกด้วย Diaphragm Pump (28มีค.56) โดยมีไดอะแฟรมอยู่ด้านล่าง น้ำออกด้วยแรงกระแทกของคลื่นผิวน้ำ และคลื่นใต้น้ำ
วิธีสูบน้ำออกจากเขื่อนด้วยลม
-Geysern Pump
-สูบออกด้วย Diaphragm Pump (28มีค.56) โดยมีไดอะแฟรมอยู่ด้านล่าง น้ำออกด้วยแรงกระแทกของคลื่นผิวน้ำ และคลื่นใต้น้ำ
-Geysern Pump
-Airlift ใช้ลมพาน้ำขึ้นมา คล้ายๆ สูบน้ำมันดิบ
-พลังงานจากกังหันลม ไปปั่นปั้มลม
-เก็บลมเข้าตรงๆ? ดักลมด้านบนแล้วปั่นไปออกด้านล่าง
-ผสมกับพลังงานจากคลื่นด้วย ใช้ไฮดรอลิคอัดลม โดยมีแขนเล็กๆยื่นออกมาด้านข้างรอบๆ คล้ายแบบ Wave Star (ได้ความเท่ห์ แล้วก็รู้สึกดีๆกับเด็ก คล้ายไอ้แมงมุม) (SpiderEnergy) http://youtu.be/Fu5AK_a9KN0
-เป็นใบสี่เหลี่มโบกไปมาในน้ำ WaveRoller ติดรอบๆด้านล่างด้านนอกในน้ำ http://youtu.be/DfD7XthBbWA
-Wave Dragon มีเปรียบเทียบ ขนาด Pototype กับของดีไซน์ http://www.youtube.com/watch?v=rgtk_Fsr0No
-ทำเหมือนสุ่มครอบเหนือน้ำ ลักษณะคล้ายกระบอกสูบ ของ OceanLinx How it works
-ทำลูกโป่งรอบๆเก็บลมให้คลื่นกระแทกลมไปออก
-Wave Dragon มีเปรียบเทียบ ขนาด Pototype กับของดีไซน์ http://www.youtube.com/watch?v=rgtk_Fsr0No
-ทำเหมือนสุ่มครอบเหนือน้ำ ลักษณะคล้ายกระบอกสูบ ของ OceanLinx How it works
-ทำลูกโป่งรอบๆเก็บลมให้คลื่นกระแทกลมไปออก
Prototype Specifications
-ขนาด Gen 3kW เทียบกับ Wave Dragon ต้องมี Reservoir = 3x2.75= 8.25 m³, Cube Root 8.25 m³=2m, ได้ด้านละสองเมตร สองก้อนซ้อนกัน ได้ขนาดทั้งหมด กxยxส=2x2x4 m
(Wave Dragon Reservoir 55 m³, output rate 20kW=2.75 m³ kW) (Okinawa 40,000 m³ 2MW, Cube Root 40,000 m³=34m)
-ใช้น้ำ 30ลิตรต่อวินาที ในหนึ่งวันต้องใช้ 2,600 ลบ.ม. ถอดรูทที่ 3 ได้เป็น ด้านละ 13.7 เมตร
-ลองขนาด 5 kW เป็นขนาดกังหันลมที่ขายทั่วไปในท้องตลาด
Calculate
ตัวอย่างที่ประสิทธิภาพ 60%
ที่ความสูง 5 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 34.00 l/s =2.04 m³/min
ที่ความสูง 10 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 17.00 l/s =1.02 m³/min
ที่ความสูง 15 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 11.50 l/s =0.69 m³/min
head 150, Flow Rate 26 m³/s, ได้ O/P 30 MW ประสิทธภาพ 78% (100%=38.25 MW)
จาก Flow Rate 26m³/s and Reservoir 564,000 m³ จะใช้เวลาปล่อยน้ำหมดอ่าง 6 hr. หมายถึงเก็บน้ำไว้ใช้ปั่นไฟแค่ 6 ชม. ช่วงพีคเท่านั้นPumped-storage Hydroelectricity
Thursday, March 21, 2013
Water well pump
Water well pump
From Wikipedia, the free encyclopedia
They include different kinds of pumps, most of them submersible pumps:
- Injector, a jet-driven pump
- Mechanical or rotary pump requiring mechanical parts to pump water
- Solar-powered water pump
- Pump driven by air as used by the Amish
- Pump driven by air as used in the Australian outback
- Manual pumpless or hand pump wells requiring a human operator
The pump replaces the use of a bucket and pulley system to extract water.
How Does Artificial Lift Work?
beam pumping
hydraulic pumping
Electric submersible pump
gas lift
How Does Artificial Lift Work?
beam pumping
hydraulic pumping
Electric submersible pump
gas lift
Airlift pump
Airlift pump
From Wikipedia, the free encyclopedia
ปั้มน้ำด้วยแรงดันอากาศ
Airlift pump technology is superb due to its simple structure. However, it has the following weaknesses:
- Weak suction
- Unstable flow rate
- Frequent clogging
- Difficult flow control
- Low lift
" Murata: Microblower "Siphon"
Subscribe to:
Posts (Atom)