Friday, March 22, 2013

myProject Ideas - OutsideHydro (Draft, very Draft)

OutsideHydro Technology เขื่อนพลังน้ำกลางทะเล


OutsideHydro is my invention of Floating Power Station.
OutsideHydro uses principles from traditional hydropower plant in an offshore floating tank to use sea as a reservoir, but reserves seawater outside the tank.


Concept  
-มองภาพรวมเป็นตัวผลิตกระแสไฟฟ้า แต่อินพุทคือการเอาน้ำออก(สูบด้วยไฟฟ้า หรือปั้มออกด้วยแมคคานิคส์ หรือดันออกด้วยลม Pneumatic)
-ถ้าเป็นระบบปิด อาจได้ประโยชน์จากลมที่เข้าออกในถัง โดยใช้ Well Turbine

Design (แบ่งเป็น ไฟฟ้า โยธา เครื่องกล)
-ศึกษาความสูง Head ที่เหมาะสม
-ทรงตื้นแต่กว้าง หรือทรงลึกแต่แคบ กระบอก ทรงกลม
-ความยากง่าย วัสดุ ในการสร้าง
-ต้นทุน
-ตัวแปร กำลังไฟฟ้าที่ต้องการ ปริมาณน้ำ ความจุ
-ความสูงการลอยตัว เมื่อน้ำเต็ม หรือน้ำหมด



Advantage (Engineering, เศรษฐศาสตร์, Finance, Environment)
-พลังงานไม่หมด ปล่อยคาร์บอนต่ำ
-ความต้องการพลังงานเป็นปัจจัยหลักที่ส่งผลให้ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำใหญ่ของประเทศลดลง ทำเกิดปัญหาการคลาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตร การใช้น้ำทะเลเพื่อผลิตพลังงานจึงเป็นอีกทางเลือกสำหรับประเทศเกษตรกรรมของไทย (ลองหาประสิทธิภาพการใช้งบประมาณของกรมชลปีละหลายหมื่นล้านเพื่อรักษาพื้นที่ชลประทาน 22 ล้านไร่ แล้วลองเทียบว่าเขื่อนกลางทะเลจะทำให้ช่วยรักษาพื้นที่ชลประทานเทียบเป็นเงินเท่าไหร่)

-Reliability บังคับน้ำให้ไหลสม่ำเสมอได้เป็นข้อดีของเขื่อนพลังน้ำแบบดั้งเดิม

-แก้ปัญหา Reliability ของ Renewable Energy เช่น ลม แสง คลื่น

-ทำหน้าที่ Stored Energy ได้
-Off Shore พื้นที่ Onshore เริ่มจำกัด จึงพัฒนาไป Offshore ซึ่งห่างไกล ไม่มีมลพิษทั้งทางเสียง สายตา ฯลฯ กับมนุษย์ [http://publications.lib.chalmers.se/records/fulltext/173938/173938.pdf - p.ii]

Disadvantage
-



Development


Design Dev.
-ข้อควรระวังในการออกแบบ
-ระบบต้องง่าย กลไกการเคลื่อนไหวต้องน้อย
-Maintenance ต้องต่ำหรือไม่มี


Engineering Dev.

ใช้อากาศดันน้ำในห้องใต้ถังออกด้านล่าง ดีกว่าการปั้มน้ำขึ้นแล้วปล่อยออกเพราะ ถ้าปั้มขึ้นต้องสูงไปถึงขอบเขื่อน แต่ดันอากาศใช้ขอบน้ำด้านนอก(ความสูงของน้ำจากผิวทะเลถึงก้นถังหรือทางน้ำสูบออก)
-น้ำที่ถูกดันออกใต้เขื่อนจะทำให้เกิดคลื่นอีกเอามาใช้งานได้อีกบางส่วน
-ปริมาณน้ำที่ระเหยออกช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า(กลายเป็นดี)



วิธีสูบน้ำออกจากเขื่อนด้วยกลไก
-สูบน้ำออกด้วยกระบอกสูง แบบกลไก
-สูบออกด้วย Diaphragm Pump (28มีค.56) โดยมีไดอะแฟรมอยู่ด้านล่าง น้ำออกด้วยแรงกระแทกของคลื่นผิวน้ำ และคลื่นใต้น้ำ


วิธีสูบน้ำออกจากเขื่อนด้วยลม
-Geysern Pump
-Airlift ใช้ลมพาน้ำขึ้นมา คล้ายๆ สูบน้ำมันดิบ
-พลังงานจากกังหันลม ไปปั่นปั้มลม
-เก็บลมเข้าตรงๆ? ดักลมด้านบนแล้วปั่นไปออกด้านล่าง
-ผสมกับพลังงานจากคลื่นด้วย ใช้ไฮดรอลิคอัดลม โดยมีแขนเล็กๆยื่นออกมาด้านข้างรอบๆ คล้ายแบบ Wave Star (ได้ความเท่ห์ แล้วก็รู้สึกดีๆกับเด็ก คล้ายไอ้แมงมุม) (SpiderEnergy) http://youtu.be/Fu5AK_a9KN0
-เป็นใบสี่เหลี่มโบกไปมาในน้ำ WaveRoller ติดรอบๆด้านล่างด้านนอกในน้ำ http://youtu.be/DfD7XthBbWA
-Wave Dragon มีเปรียบเทียบ ขนาด Pototype กับของดีไซน์ http://www.youtube.com/watch?v=rgtk_Fsr0No
-ทำเหมือนสุ่มครอบเหนือน้ำ ลักษณะคล้ายกระบอกสูบ ของ OceanLinx How it works
-ทำลูกโป่งรอบๆเก็บลมให้คลื่นกระแทกลมไปออก


Prototype Specifications
-ขนาด Gen 3kW เทียบกับ Wave Dragon ต้องมี Reservoir = 3x2.75= 8.25 m³, Cube Root 8.25 m³=2m, ได้ด้านละสองเมตร สองก้อนซ้อนกัน ได้ขนาดทั้งหมด กxยxส=2x2x4 m
(Wave Dragon Reservoir 55 m³, output rate 20kW=2.75 m³ kW) (Okinawa 40,000 m³ 2MW, Cube Root 40,000 m³=34m)
-Gen 3kWแบบ (กังหันน้ำปั่นไฟขนาดจิ๋วแบบคอยาว) ใช้น้ำ 30 l/s = 1.8 m³/m แต่กังหันสูบน้ำใหญ่ที่สุดในอเมริกา ขนาดลูกสูบ 70 cm ช่วงชัก 40 cm สูบได้ 1.4 m³/m เอง
-ใช้น้ำ 30ลิตรต่อวินาที ในหนึ่งวันต้องใช้ 2,600 ลบ.ม. ถอดรูทที่ 3 ได้เป็น ด้านละ 13.7 เมตร
-ลองขนาด 5 kW เป็นขนาดกังหันลมที่ขายทั่วไปในท้องตลาด
Calculate
ตัวอย่างที่ประสิทธิภาพ 60%
ที่ความสูง 5 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 34.00 l/s =2.04 m³/min
ที่ความสูง 10 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 17.00 l/s =1.02 m³/min
ที่ความสูง 15 m อัตราการใช้น้ำต่อกิโลวัตต์ = 11.50 l/s =0.69 m³/min

Okinawa Yanbaru Seawater Pumped Storage Power Station
head 150, Flow Rate 26 m³/s, ได้ O/P 30 MW ประสิทธภาพ 78% (100%=38.25 MW)
จาก Flow Rate 26m³/s and Reservoir 564,000 m³ จะใช้เวลาปล่อยน้ำหมดอ่าง 6 hr. หมายถึงเก็บน้ำไว้ใช้ปั่นไฟแค่ 6 ชม. ช่วงพีคเท่านั้น

Calculation of Hydro Power - Hydro




No comments:

Post a Comment